หลายคนอาจจะยังไม่เข้าใจว่าอะไรคือ เศรษฐศาสตร์ออสเตรียน
จริงๆ รากเง่าของเศรษฐศาสตร์สำนักออสเตรียนนั้นมาจากเศรษฐศาสตร์ สำนักคลาสสิก ซึ่งมาตอบปัญหาเรื่อง Subjective Value โดยอิงจากเรื่อง Water-Diamond Paradox
ทั้งนี้ทั้งนั้นเศรษฐศาสตร์ออสเตรียนยังมุ่งเน้นไปที่ตัวบุคคลหรือ ปัจเจกชน มนุษยนิยม มากกว่า เรื่องราวของวัตถุนิยม
รากเง่าเดิมทางฝั่งการเมืองคือเสรีนิยม(Liberalism))หากใครเคยอ่าน The Road to Serdom หรือ theory of money and credit จะใช้คำว่า Liberal บ่อยๆ)แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์หลายๆอย่างเกิดขึ้น( เดี๋ยวไปใส่รายละเอียดครั้งหน้า) ทำให้เชดทางการเมืองหันมาสู่อิสระนิยม(Libertarianism)
โดยเศรษฐศาสตร์ ออสเตรียนนั้นแตกต่างจากสำนักคลาสิกในด้านการอธิบายความหมายของเงิน ว่าเป็น Subjective value คือ การที่เงินก็เป็นสินค้าชนิดหนึ่งและควรเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ในกลไกของเงิน ประกอบด้วย การผลิต และการแลกเปลี่ยน การรักษามูลค่าในตัวมันเอง
แต่ทั้งสองสำนักก็ยังมุ่งเน้นไปในทางของตลาดเสรีนิยมแบบปล่อยเพราะเชื่อว่ากลไกเศรษฐกิจนั้นเป็นธรรมชาติ รักษาด้วยตัวมันเองได้
โดยสำนักออสเตรียนนั้นปฏิเสธการแทรกแซงกลไกเศรษฐกิจด้วยตัวของผู้มีอำนาจทั้งหลาย (1) nostr:note1846thk6d39grg07kqg6rx7as6mczjlmth4zgzah2d29pkefksmas7vlnnz